bacaratvip เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ

หน้าหลัก Uncategorized

เลือกฟอนต์ ยังไงไม่ให้โป๊ะ!

เลือกฟอนต์ ยังไงไม่ให้โป๊ะ!

เลือกฟอนต์ ยังไงไม่ให้โป๊ะ! ใครหลายคนอาจจะคิดว่าเลือกฟอนต์ง่ายจะตาย ใครก็ทำได้ปะ? ต้องขอบอกเลยว่า ไอ้การเลือกฟอนต์นี่แหละ ทำให้ใครหลายคนตกม้าตายมานักต่อนักแล้ว ถ้ามันง่ายจริงเราคงจะใช้ฟอนต์แบบเดียวกันทั้งโลกไปแล้ว ใช่มั้ยละ จะออกแบบมาให้เยอะ มากมายกันทำไม เพราะฟอนต์สามารถให้ความรู้สึกต่อคนอ่านไงละ เห็นแบบนี้แล้ว เราคงต้องทำความรู้จักรูปแบบของ Font กันหน่อย Typeface ไทป์เฟซ หรือ Font ฟอนต์ หรือในชื่อไทยว่า คือ ชุดของรูปแบบอักขระ glyph ที่ได้รับการออกแบบไว้อย่างเป็นเอกภาพด้วย โดยรูปแบบเฉพาะตัว Typeface อาจจะประกอบไปด้วย ตัวอักษร หรือตัวเลข หรือเครื่องหมายวรรคตอน และอาจรวมไปถึงอักษรภาพ ideogram นั่นเอง เช่น อักษรภาษาจีน bacara หรือ พวกสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น สัญลักษณ์เกี่ยวกับทางคณิตศาสตร์ หรือ ทางด้านเทคนิคต่างๆ เพราะเทคนิคของการเลือกใช้ Font นั้นต่างกัน

เลือกฟอนต์ ยังไงไม่ให้โป๊ะ!

ความแตกต่างระหว่าง FONT VS TYPEFACE ?

FONT นั้นจะหมายถึง ชุดของตัวอักษรที่มีความแตกต่างกันทั้งทางด้านของขนาด ความหนา ความกว้าง และความเอียง TYPEFACE ก็คือชุดของรูปแบบตัวอักษร แต่ละชุดก็จะประกอบด้วย พยัญชนะ สระ ตัวเลข เครื่องหมาย สัญลักษณ์ต่างๆ ที่ถูกออกแบบหรือคิดค้นขึ้นมาโดยที่นักออกแบบตัวอักษรนั้น ให้มีรูปแบบเอกลักษณ์เฉพาะตัว หนังเอเชีย มีขนาดหรือความหนารวมถึงความกว้าง และความเอียงเท่ากัน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ดังนี้

  1. แบบ Serif คือแบบอักษรที่มีขีดเล็ก ๆ อยู่ที่ปลายอักษรเรียกว่า Serif ดังที่ปรากฏในตัวอักษรตระกูล Times แบบอักษรชนิดนี้ หรือมีชื่อเรียกอีกอย่าง ว่าแบบโรมัน Roman มีต้นกำเนิดมาจากอักษรที่จารึกไว้ ที่หินของอาณาจักรโรมัน Serif มีส่วนช่วยในการกวาดสายตาไปตามตัวอักษร ทำให้การอ่านง่ายขึ้น และนิยมใช้สำหรับการพิมพ์เนื้อความ
  2. แบบ Sans Serif จะมีความหมายตรงข้ามกัน นั่นคือไม่มีขีดที่ปลายตัวอักษร และมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าแบบกอทิก Gothic อักษรชนิดนี้นั้น ไม่เหมาะสมกับการเป็นเนื้อความ joker แต่เหมาะสม สำหรับใช้พาดหัว หรือ หัวเรื่อง ที่เป็นจุดเด่น แค่เพียงมองครั้งเดียว อย่างไรก็ตาม ฟอนต์ในสมัยใหม่ที่ได้รับการออกแบบในคอมพิวเตอร์ และอาจมีทั้งแบบ Serif และ แบบ Sans Serif ปะปนกันในฟอนต์หนึ่งนั้น

ฟอนต์เป็นรูปแบบ หรือ เป็นลักษณะ หนึ่งของไทป์เฟซเท่านั้นจะใช้ระบุขนาดที่เฉพาะเจาะจง เช่น ความหนา ความกว้าง ความเอียง ของตัวอักษร ตัวอย่างเช่น Eurasia Condensed เป็นฟอนต์หนึ่ง Eurasia Extended ก็เป็นฟอนต์หนึ่ง แต่ทั้ง 2 FONTS นั้น ก็อยู่ใน TYPEFACE เดียวกัน ซึ่งคือ Eurasia

เลือกฟอนต์ ยังไงไม่ให้โป๊ะ!

การใช้งานของ Font ?

ผู้ใช้งานของฟอนต์ส่วนมากจะสับสนว่า Typeface บางชนิด มีในอักษรไทย ที่เราสามารถจัดรูปแบบตัวอักษรไทย ด้วยได้ด้วย Typeface นั้นๆ ได้ในโปรแกรมประยุกต์บางโปรแกรมนั้นเอง แต่เรากลับไม่สามารถที่จะใช้กับโปรแกรมประยุกต์หลายๆ โปรแกรม เช่น ไม่สามารถใช้ Typeface อักษรไทย ในโปรแกรม Adobe Photoshop รวมไปถึง Adobe Illastator ได้ และคนมักจะโทษผู้ผลิตโปรแกรมประยุกต์พวกนั้นๆ ในเมื่ออันที่จริงแล้ว ก็เป็นเพราะการอ้างอิง ของตำแหน่งอักษร ในการเข้ารหัสนั้นไม่ตรงกัน เพราะตำแหน่งอักษรภาษาละตินนั้นอยู่ตรงกันอยู่แล้ว ทั้งในแอสกีและยูนิโคด joker gaming แน่นอนจึงไม่พบว่าเป็นปัญหา แต่ตำแหน่งของอักษรภาษาไทยในรหัสแอสกีและยูนิโคด นั้นมันไม่ตรงกัน โดยมากมักพบเป็นตัวอักษรภาษาละตินหรือสัญลักษณ์ประหลาดๆ อาทิเช่น ฉ กลายเป็น © อะไรแบบนี้ และมักจะพบได้กับ Typeface ไทยเกือบทุกๆ ตระกูล อาทิเช่น UPC หรือ แม้แต่ Typeface บางตัวในชุดของฟอนต์เพื่อชาติ ก็เป็นปัญหา นอกจากนี้ยังจะพบอีกว่าไทป์เฟซ พวกตระกูล UPC ที่เคยใช้และจัดรูปแบบอักษรภาษา ละตินบน Microsoft Office Word 97 ได้นั้น แต่มันกลับไม่สามารถใช้จัดรูปแบบอักษรภาษาละตินใน Microsoft Office Word 2000 ขึ้นไปได้ จึงทำให้มีการปรับปรุง Typeface ตระกูล UPC เป็น New และ DSE ตามลำดับ โดย Typeface ตระกูลดังกล่าวนั้นมีถึง 10 แบบ ดังนี้

  1. Angsana
  2. Browallia
  3. Cordia
  4. Dillenia
  5. Eucrosia
  6. Freesia
  7. Iris
  8. Jasmine
  9. Kodchiang
  10. Lily
เลือกฟอนต์ ยังไงไม่ให้โป๊ะ!

บางทีเรา PGSLOT ก็อาจเผลอใช้เวลาไปหลายสิบนาทีกว่าจะเจอ Font ที่ถูกใจได้ และเหตุผลอาจเป็นเพราะสถาปนิก หรือ นักออกแบบจำเป็นต้องใช้ องค์ประกอบ Graffic เป็นเครื่องมือ เพื่อสื่อสารงาน Design ของตนเอง เราเลยต้องพิถีพิถันกับการเลือก Font ตัวอักษรที่จะนำมาใช้ในการอธิบายเนื้อหา ideaความคิด รายละเอียด งานออกแบบ การเลือก Font ตัวอักษรเลยนับเป็นอีกหนึ่งชิ้นส่วนที่สำคัญในหน้าที่ Presentation ที่จะช่วยสร้างความเข้าใจ อารมณ์ความรู้สึก ที่เราต้องการจะสื่อสารให้กับคนอ่านได้มากขึ้นอีกด้วย

  1. Richard Neutra
    นักออกแบบกราฟิก Christian Schwartz จึงได้เริ่มต้นโปรเจก ที่ออกแบบตัวอักษรเพื่อให้เหมาะสม กับกราฟิกงานสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะเป็น font ที่ถูกใช้ในงานสถาปัตยกรรมและการออกแบบกันอย่างแพร่หลาย สูสีกับ font Futura จุดแตกต่าง ที่สังเกตได้ชัด ก็คือเส้นขนาดหนากว่าและเหลี่ยมมุมที่ไม่แหลมคมมากจนเกินไปนั่นเอง
  2. Giambattista Bodoni ลักษณะตัวอักษรอ้วนหนา ใช้ส่วนโค้งมนเยอะ แบบมีเส้นรับหัวกับฐาน และใช้ความหนาเส้นบางและหนาสลับกันไปเพื่อความสวยงาม เลือกใช้ด้วยความระมัดระวัง เพราะรูปแบบตัวอักษรที่โดดเด่น มันถึงไม่เหมาะสม กับข้อความขนาดยาว ควรนำไปใช้กับส่วนที่เป็นไฮไลท์ที่ต้องการเน้นความสำคัญ อย่างชื่อเรื่อง พวกรายละเอียดสั้น ๆ
  3. Tobias Frere-Jones นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ในงานประชาสัมพันธ์ ป้ายประกาศ นามบัตรและโลโก้ เพราะความหนาของเส้นขนาดที่พอดี ๆ เข้ากับองค์ประกอบอื่น ได้ไม่ยาก เรียบง่าย และยังน่าเชื่อถือ อ่านเพิ่มเติม Viu กับ Viu Primium ต่างกันยังไง?

Last Update : 16 มิถุนายน 2021 (ข้อมูลล่าสุดปี 2020)